หน่วยงานภายในวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข

บุคลากรวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข



ชื่ือ :: รศ.ดร. มารุตพงศ์ ปัญญา
ตำแหน่ง :: รองศาสตราจารย์
เบอร์โทรศัพท์ :: 045353900 ต่อ 5724 มือถือ 0956191582
โทรสาร :: 045353901
ห้องพัก:: อาคารสมจิตต์ ยอดเศรณี ห้อง SY 326
E-mail :: marutpong.p@ubu.ac.th
ประวัติการศึกษา::
ปี 2554 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย
ปี 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต จุลชีววิทยา (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประเทศไทย

ทุนการศึกษา
Scholarship of the staff Development Program of the Commission on Higher Education หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย์ สถาบัน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะเวลารับทุน ระหว่าง พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ.2554

ประสบการณ์งานวิจัยต่างประเทศ
Genetic engineering in lactic acid bacteria สถาบัน Instituto de Productos Lácteos de Asturias (IPLA) รัฐแอสตูเรียส สหราชอาณาจักรสเปน ระยะเวลาวิจัย ระหว่าง เมษายน พ.ศ.2553 ถึง มีนาคม พ.ศ.2554

รางวัล
1. รางวัล “ศาสตราจารย์วันเพ็ญ ชัยคำภา เพื่อนักศึกษาผู้มีผลงานดีเด่น ปี พ.ศ. 2552” ศูนย์วิจัยและบริการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อระบาดใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2. นักวิจัยดีเด่น วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2560


Scopus H-index https://www.scopus.com/authid/detail.uri?authorId=54928156000


ประวัติการทำงาน::
ตำแหน่งทางวิชาการ

ปี 2555-ปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ พนักงานของรัฐ เลขที่ตำแหน่ง 294 เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2555 สังกัดกลุ่มวิชาแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปี 2555-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

ปี 2558-2563 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา

ปี 2563-ปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา


งานบริหารหลักสูตร

ปี 2557-2566 อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ชีวเวชศาสตร์

ปี 2562-2566 ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์

ปี 2566-ปัจจุบัน ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์

งานบริหารของวิทยาลัยแพทย์ฯ

ปี 2560-2562 ผู้ช่วยคณบดีงานบริการการศึกษา วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปี 2566-2567 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปี 2567-ปัจจุบัน รองคณบดีฝ่ายบริหาร วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ปี 2560 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก


งานด้านประกันคุณภาพการศึกษา

คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี 2558 ถึง 2564 (TQF)


คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี 2565 (AUN-QA V.4)


อาจารย์พิเศษ
1. อาจารย์พิเศษ รายวิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2559

2.อาจารย์พิเศษ รายวิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2560

3. อาจารย์พิเศษ รายวิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2561

4. อาจารย์พิเศษ รายวิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2562

5.อาจารย์พิเศษ บรรยายเรื่อง การพัฒนาศักยภาพด้านจุลชีววิทยาสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาชีววิทยา ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2560

6.อาจารย์พิเศษ รายวิชาแนวโน้มเภสัชบำบัดโรคติดเชื้อ สำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2560

7. อาจารย์พิเศษ บรรยายเรื่อง Human Microbiome Technology and its Application ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2565

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ นางสาวปัญจมาพร ยศปัญญา นักศึกษาปริญญาโท สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มิถุนายน พ.ศ.2555-2559)

2. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ นางสาวศิรินทรา เทียมสกุล นักศึกษาปริญญาโท สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (สิงหาคม พ.ศ.2555-2559)

3. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์ นางสาวฐาปนีย์ ถิ่นบ้านใหม่ นักศึกษาปริญญาโท สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มีนาคม พ.ศ.2556-2559)


ผู้พิจารณาหนังสือ/ตำราทางวิชาการ

1. ผู้พิจารณาหนังสือ เรื่อง คุณค่าทางโภชนาการและความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาของผักและผลไม้สดแปรรูป ปี 2565


ผู้พิจารณาบทความวิจัย

1. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of Current Science and Technology ประจำปี พ.ศ.2564

2. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสารAsian Journal of Microbiology and Biotechnology ประจำปี พ.ศ.2564

3. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of the Medical Association of Thailand ประจำปี พ.ศ.2563

4. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Srinagarind Medical Journal ประจำปี พ.ศ.2563

5. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Biotechnology Letters (Q2) ปี พ.ศ.2562

6. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Chiang Mai Journal of Science ประจำปี พ.ศ.2560

7. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Srinagarind Medical Journal ประจำปี พ.ศ.2560

8. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of Medicine and Public Health, Ubon Ratchathani University ประจำปี พ.ศ.2560

9. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Biotechnology Lettersl ประจำปี พ.ศ.2565

10. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of Current Science and Technology ประจำปี พ.ศ.2565

11. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of the Medical Association of Thailand ประจำปี พ.ศ.2565

12. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Heliyon ประจำปี พ.ศ.2566

13. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Scientific Report ประจำปี พ.ศ.2566

14. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร BMC Genomics ประจำปี พ.ศ.2566

15. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Archieve Microbiology ประจำปี พ.ศ.2566

16. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Journal of the Medical Association of Thailand ประจำปี พ.ศ.2567

17. ผู้พิจารณาบทความวิจัยวารสาร Probiotics and Antimicrobial Proteins ประจำปี พ.ศ.2568

วิทยากร

1. วิทยากรบรรยายเรื่อง Emerging viral infection: Dengue/Zika virus/Influenza virus งานประชุมวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2559


งานบริการวิชาการ

1. ประธานโครงการเปิดโลกการเรียนรู้สู่ร่างอาจารย์ใหญ่ ประจำปี พ.ศ.2559 ถึง พ.ศ.2561

2. คณะทำงานโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมสืบสานประเพณีทำบุญอุทิศส่วนกุศลอาจารย์ใหญ่ ประจำปี พ.ศ.2559 ถึง พ.ศ.2562

3. คณะกรรมการดำเนินงานเนื่องในวันมหิดล วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี พ.ศ.2559 ถึง พ.ศ.2562

4. คณะกรรมการดำเนินโครงการบริการวิชาการแก่สังคม “โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนเพื่อการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ครั้งที่ 4” ประจำปี พ.ศ.2560

5. คณะทำงานโครงการบริการวิชาการ เรื่อง “บริการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการประเมินผลกระทบและการใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง” ประจำปี พ.ศ.2561

หน้าที่ความรับผิดชอบ::
อาจารย์ประจำสาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์

ความรู้ความสามารถพิเศษ::
จุลชีววิทยาทางการแพทย์

การประยุกต์ใช้โพรไบโอติกและพรีไบโอติกเพื่อฟื้นฟูจุลินทรีย์ลำไส้

แบคเทอริโอเฟจและการประยุกต์ใช้

Human Gut Microbiome

ผลงานทางวิชาการ::
หนังสือ
มารุตพงศ์ ปัญญา 2562 แลคโตบาซิลลัส:พื้นฐานสู่การประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ สำหนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทความปริทัศน์ (Review article)
1. Marutpong Panya and Baltasar Mayo, Lactic acid bacteria: an alternative platform for live vaccine development. KKU Research Journal 2014;19(5): 734-42.

2. มารุตพงศ์ ปัญญา. หลักการประยุกต์ใช้แลคโตบาซิลลัสเป็นพาหะน้าส่งวัคซีน Conceptual application of Lactobacillus spp. as vaccine delivery vehicle. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – เมษายน 2562).

อนุสิทธิบัตร
1. ชื่อการประดิษฐ์ : เวกเตอร์ที่ใช้เป็นพาหะในการนำชิ้นส่วนของยีนเข้าสู่เชื้อเอสเซอริเชีย โคไล (Escherichia coli) และเชื้อแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ (Lactobacillus casei) เลขที่คำขอ : 1203000138 วันที่ขอรับ : 14 กุมภาพันธ์ 2555

2. ชื่อการประดิษฐ์ : เวกเตอร์ที่มียีนนำส่งโปรตีนออกนอกเซลล์เชื้อแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ (Lactobacillus casei) เลขที่คำขอ : 1703000699 วันที่ขอรับ : 4 สิงหาคม 2559

การตีพิมพ์
พ.ศ.2555
1. Panya M., Lulitanond V., Tangphatsornruang S., Namwat W., Wannasutta R., Suebwongsa N., and Mayo B. Sequencing and analysis of three plasmids from Lactobacillus casei TISTR1341 and development of plasmid-derived Escherichia coli-L.casei shuttle vectors. Appl Microbiol Biotechnol 2012; 93(1): 261-72.

พ.ศ.2556
1. Suebwongsa N., Panya M, Namwat W., Redruello B., Mayo B., Alvalez M.A., and Lulitanond L. Cloning and expression of a codon-optimized gene encoding the influenza A virus nucleocapsid protein in Lactobacillus casei. International Microbiology 2013; 16(2):93-101.

พ.ศ.2557
1. Yasiri A., Chuanchan K., Namwat W., Panya M., Suebwongsa N., and Lulitanond L. Heterologous protein expression by Lactobacillus casei isolated from chicken intestine. J Pure Appl Microbiol 2014; 8(3):1791-1801.
2. Chaiwong T., Srivoramas T., Panya M., Wanram S., and Panomket P. Antibiotic Resistance Patterns of Enterococcus spp. Isolated from Musca domestica and Chrysomya megacephala in Ubon Ratchathani Province. J Med Assoc Thai 2014; 97(Suppl4):S1-6.

3. มารุตพงศ์ ปัญญา, วีระพงศ์ ลุลิตานนท์, พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ, ธันยาการย์ ศรีวรมาศ, ธารินี ไชยวงศ์, ฐาปนีย์ ถิ่นบ้านใหม่. คุณสมบัติโปรไบโอติกของแบคทีเรียกรดแลคติกที่คัดแยกได้ จากอุจจาระเด็กแรกเกิด วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2557; 16(3):38-45.

พ.ศ.2559
1. Panya M., Lulitanond V., Rattanachaikunsopon P., Srivoramas T., and Chaiwong T. Isolation, identification, and evaluation of novel probiotic strains isolated from feces of breast-fed Infants. J Med Assoc Thai 2016; 99(Suppl1):S12.

2. Panya M., Thirat S., Wanram S., Panomket P., and Nilsakul J. Prevalence of bla(PenA) and bla(OXA) in Burkholderia pseudomallei isolated from patients at Sappasitthiprasong hospital and their susceptibility to ceftazidime and carbapenems. J Med Assoc Thai 2016; 99(Suppl1):S12-6.

3. Suebwongsa N., Lulitanond V., Mayo B., Yotpanya P., and Panya M. Development of an Escherichia coli-Lactobacillus casei shuttle vector for heterologous protein expression in Lactobacillus casei. Springerplus 2016; 24;5:169.

4. Chaiwong T., Srivoramas T., Sebsumran P., Panya M., Wanram S., and Panomket P. Antibacterial activity of excretions-secretions from Chrysomya megacephala against Escherichia coli. J Med Assoc Thai 2016;99(Suppl1):S7-11.

5. Themsakul S., Suebwongsa N., Mayo B., Panya M., and Lulitanond V. Secretion of M2e:HBc fusion protein by Lactobacillus casei using Cwh signal peptide. FEMS Microbiol Lett 2016;363(19).

6. Yotpanya, P., Panya, M., Engchanil, C., Suebwongsa, N., Namwat, W., Thaw, H.H., and Lulitanond, V. Probiotic characterization of lactic acid bacteria isolated from infants feces and its application for the expression of green fluorescent protein. Malaysian Journal of Microbiology 2016; 12(1):76-84.

7. Yotpanya P., Lulitanond V., Engchanil C., Suebwongsa N., Namwat W., Thaw H., and Panya M. Construction of the Recombinant Probiotic Lactobacillus casei and Lactobacillus fermentum Expressing the Codon-Optimized M2e: HBc Fusion Gene. J Med Assoc Thai 2016; 99(12):(suppl9).

8. Panomket P., Thirat S., Wanram S., Panya M., Nilsakul J.. Extended-Spectrum β-Lactamase-Producing Klebsiella pneumoniae from Sappasitthiprasong Hospital and Imipenem Activity. J Med Assoc Thai 2016; 99(12):(suppl9).

9. Suriyakan S., Kanthawong S, Chaiwong T., Lamlertthon S., Thongwat D., Panya M., Panomket P., Hongsrichan N., Janthawong A., and Bunchu N. Antimicrobial Activity of Excretory and Secretory Products from Chrysomya megacephala (Diptera: Calliphoridae) Larvae. J Med Assoc Thai 2016; 99(12):(suppl9).

พ.ศ.2560
1. Thaw, H.H., Seubwongsa, N., Thongrung, R., Panya, M., and Lulitanond, V. In vitro evaluation of cell adhesion and immunomodulatory properties of five Lactobacillus rhamnosus strains isolated from infants. Malaysian Journal of Microbiology. 2017.

พ.ศ.2561
1. มารุตพงศ์ ปัญญา และวีระพงศ์ ลุลิตานนท์. การจำแนกเชื้อและการตรวจหายีนรุนแรงด้วยวิธีอณูวิทยาในแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากอุจจาระของคน. 2561. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 20 ฉบับ 1 มกราคม- เมษายน 2561.

พ.ศ.2562
1.Thinbanmai T, Lulitanond V, Mayo B, Lulitanond A, Panya M. Cloning and expression of enterovirus 71 capsid protein 1 in a probiotic Bifidobacterium pseudocatenulatum. Lett Appl Microbiol. 2019 Jan;68(1):9-16.

2. Siraprapa Minaphol, Surasak Wanram, Jiraporn Nilsakul, Marutpong Punya, Pawana Panomket. The prevalence of carbapenemase-producing Enterobacteriaceae in Sapphasithiprasong Hospital. JOURNAL OF MEDICAL TECHNOLOGY AND PHYSICAL THERAPY. 2019. Vol. 31 No. 2

3.Konyanee A, Yotpanya P, Panya M, et al. Genome Sequence of Lactobacillus fermentum 47-7, a Good In Vitro Probiotic Strain Isolated from a Healthy Thai Infant. Microbiol Resour Announc. 2019;8(39):e01014-19. Published 2019 Sep 26. doi:10.1128/MRA.01014-19

พ.ศ.2563
1. Sirichoat A, Florez AB, Vazquez L, Buppasiri P, Panya M, Lulitanond V, et al. Antibiotic Susceptibility Profiles of Lactic Acid Bacteria from the Human Vagina and Genetic Basis of Acquired Resistances. Int J Mol Sci. 2020;21(7).

2. Marutpong Panya,Juthamas Chumsen; Parichat Phumkhachorn; Tarinee Chaiwong; Viraphong Lulitanond. (2020) Isolation and characterization of lytic bacteriophages against multidrug resistant Escherichia coli. JOURNAL OF CURRENT SCIENCE AND TECHNOLOGY,10,4

3. Sirichoat A, Flórez AB, Vázquez L, Buppasiri P, Panya M, Lulitanond V, et al. Antibiotic Resistance-Susceptibility Profiles of Enterococcus faecalis and Streptococcus spp. From the Human Vagina, and Genome Analysis of the Genetic Basis of Intrinsic and Acquired Resistances. Frontiers in Microbiology. [Original Research]. 2020 2020-June-26;11(1438).

4. Juthamas Chumsen, Parichat Phumkhachorn, Tarinee Chaiwong, Viraphong Lulitanond, Marutpong Panya. Isolation and Characterization of lytic Bacteriophages against Multidrug resistant Escherichia coli. IAMBEST2020. KMITL Prince of Chumphon. 28-29 May 2020. International oral presentation with bronze medal award.

พ.ศ.2567
Panya M, Kaewraemruaen C, Saenwang P, Pimboon P. Evaluation of Prebiotic Potential of Crude Polysaccharides Extracted from Wild Lentinus polychrous and Lentinus squarrosulus and Their Application for a Formulation of a Novel Lyophilized Synbiotic. Foods. 2024 Jan 16;13(2):287. doi: 10.3390/foods13020287. PMID: 38254588; PMCID: PMC10815080.

Suebwongsa, N., Kaewreamreuan, C. ., Yotpanya, P. ., Lulitanond, V. ., & Panya, M. (2024). In vitro evaluation of the intestinal cell adhesion, immunomodulatory effect, and cholesterol assimilation of the potential probiotic and postbiotic isolated from healthy Thai children . Journal of Current Science and Technology, 14(2). https://doi.org/10.59796/jcst.V14N2.2024.32.

ผลงานด้านอื่นๆ::
ทุนวิจัย

1. เรื่อง การประเมินฤทธิ์ของแบคเทอริโอฟาจ JC02 ในการต้านเชื้อเอสเชอริเชีย โคไล สายพันธุ์ดื้อยาหลายขนานที่คัดแยกได้จากผู้ป่วยในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ แหล่งทุน วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

2. เรื่อง การประเมินฤทธิ์การสร้างไซโตไคน์ในเซลล์ human monocytic THP1 ที่ถูกกระตุ้นด้วยแบคทีเรียโปรไบโอติก แหล่งทุน งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

3. เรื่อง การสร้างเชื้อ recombinant Bifidobacterium breve ที่มีการแสดงออกของโปรทีน viral capsid protein1 (VP1) จากเชื้อไวรัส enterovirus สายพันธุ์ 71 แหล่งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข

4. เรื่อง การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลกติกที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกจากอุจจาระของเด็กแรกเกิดที่มีสุขภาพดีและดื่มนมแม่ แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

5. เรื่อง การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลกติกที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกจากอุจจาระของเด็กแรกเกิดที่สุขภาพดีและดื่มนมแม่ แหล่งทุน วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

6. เรื่อง การคัดแยก คุณสมบัติ และประเมินฤทธิ์แบคเทอริโอเฟจที่ต้านเชื้อ Campylobacter jejuni และ Campylobacter coli สำหรับใช้เป็นตัวควบคุมชีวภาพ แหล่งทุน บริษัท ศูนย์วิทยาศาสตร์เบทาโกร จำกัด

7. เรื่อง การประเมินศักยภาพพรีไบโอติกของสารสกัดโพลีแซคคาไรด์จากเห็ดในท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อพัฒนาเป็นแคปซูลซินไบโอติกต้นแบบใหม่ แหล่งทุน กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.)

8. เรื่อง ศักยภาพสารพรีไบโอติกจากเห็ดป่าที่รับประทานได้ในจังหวัดอุบลราชธานีสำหรับการฟื้นฟูไมโครไบโอมลำไส้ แหล่งทุน กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.)

9. เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพของแบคเทอริโอเฟจที่ต้านเชื้อ Campylobacter สำหรับใช้เป็นตัวควบคุมชีวภาพในฟาร์มไก่เนื้อ แหล่งทุน บริษัท ศูนย์วิทยาศาสตร์เบทาโกร จำกัด

10. ชุดโครงการ เรื่อง ไมโครไบโอมลำไส้ในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี นอนติดเตียง และผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในเขตตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี (ทุนวิทยาลัยแพทย์ฯ ม.อุบลราชธานี ปี 2567)

11. ทุนวิจัยนวัตกรรม เรื่อง การประเมินศักยภาพซินไบโอติกต้นแบบในการปรับเปลี่ยนแบคเทอริโอมในอุจจาระของผู้สูงอายุในเขตตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี