หน่วยงานภายในวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข

บุคลากรวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข



ชื่ือ :: ผศ.ดร. สง่า ทับทิมหิน
ตำแหน่ง :: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
เบอร์โทรศัพท์ :: 04535-3925-7 ext.5846 มือถือ 080-333-9153
โทรสาร :: 04535-3901
ห้องพัก:: อาคารวิทยาลัยฯ ห้อง CMP317
E-mail :: sanga.t@ubu.ac.th
ประวัติการศึกษา::
  • ปริญญาตรี วท.บ. (สาธารณสุขศาสตร์) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ปริญญาโท M.Sc. (Environmental Technology and Management) School of Environment, Resources and Development:SRED, Asian Institute of Technology:AIT 
ปริญญาเอก ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประวัติการทำงาน::
  • ปี 2540 - 2549 นักวิชาการสิ่งแวดล้อม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • ปี 2550 - ปัจจุบัน อาจารย์สังกัดกลุ่มวิชาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
หน้าที่ความรับผิดชอบ::
  • อาจารย์สอนในกลุ่มวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น อนามัยสิ่งแวดล้อม การจัดการคุณภาพน้ำ การจัดการขยะและสิ่งปฏิกูล การควบคุมมลพิษทางอากาศ ปฏิบัติการตรวจวิเคราะหด้านสิ่งแวดล้อม สัมมนาทางสาธารณสุข สุขาภิบาลอาหาร การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ฯลฯ
  • อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม (วท.บ.อนามัยสิ่งแวดล้อม อาจารย์ประจำหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต (ส.ม.)
ความรู้ความสามารถพิเศษ::
- สาธารณสุขศาสตร์ (Public Health) ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health) - การป้องกันมลพิษ (Pollution Prevention)และการผลิตที่สะอาด (Cleaner Production) - การจัดการขยะอันตรายชุมชน (Household Hazardous Waste Management) - การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment; EIA) และการประเมินผลกระทบสุขภาพ (Health Impact Assessment; HIA) - อุบัติเหตุทางถนน (Road traffic accident) - การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (Data &Information management and Data Cleaning) - การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Science Research)
ผลงานทางวิชาการ::
โครงการวิจัย
  • โครงการวิจัยเพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เรื่อง การประเมินภาวะสุขภาพและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา: กลุ่มผ้าทอมือในเขตจังหวัดอุบลราชธานี (ปี 2550)
  • โครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่น เรื่อง กระบวนการลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพื่อเพิ่มความปลอดภัยด้านสุขภาพของเกษตรกรปลูกพริกและชุมชน บ้านหัวเรือทอง ตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ปี 2554)
  • โครงการวิจัย: การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แหล่งทุน: วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2561 โครงการวิจัย: รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยเหลือศูนย์อย่างยั่งยืนในสถาบันการศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แหล่งทุน: วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2563
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่บทความ -สง่า ทับทิมหิน, ปัณฑิตา สุขุมาลย์, ปวีณา ลิมปิทีปราการ, ลักษณีย์ บุญขาวและสมเจตน์ทองดำ.กระบวนการลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพื่อเพิ่มความปลอดภัยด้านสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกพริกและชุมชนบ้านหัวเรือทอง ตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area Based Development Research Journal). ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 กันยายน-ตุลาคม 2555 - สง่า ทับทิมหิน และ นิตยา พุทธบุรี. 2562. ความชุกและระดบัความรุนแรงของกลุ่มอาการทางตาจากจอภาพ คอมพวิเตอร์ของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวทิยาลยัอุบลราชธานี (Prevalence and Severity of Computer Vision Syndrome of Supporting Staff in Ubon Ratchathani University). ศรีนครินทร์เวชสาร, 34(1): 26-35 การนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ - สง่า ทับทิมหิน และ ปณัฐิญา ยืนยาว. ความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ของประชาชนตำบลโนนกุง อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี.งานประชุมวิชการประจำปีวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครั้งที่ 7 “ทิศทางและการพัฒนาระบบสุขภาพไทย” วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมบ้านสวนคุณตา อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี - นิตยา สุขชาติ สง่า ทับทิมหิน เมรีรัตน์ มั่นวงศ์ และ จินตนา ศิริบูรณ์พิพัฒนา. ความชุกและระดับความรุนแรงของพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. งานประชุมวิชาการวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ครั้งที่ 8; การสาธารณสุขไทยในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง. วันที่ 26 มิถุนายน 2562; จังหวัดอุบลราชธานี - Paweena Limpiteeprakan and Sanga Tubtimhin. Household Organic Waste Management using Takakura Home Method. Proceedings of the 9th IconSWM-CE 2019; Waste Management towards Circular Economy. 27-30 November 2019; 370-376.Bhubaneswar, Odisha, India. -ศิรินันท์ บุญทศ และ สง่า ทับทิมหิน. ความรู้และความคิดเห็นต่อมาตรการควบคุม การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มเฝ้าระวัง (พาราควอต ไกลโฟเสต คลอร์ไพรีฟอส) ของชาวไร่แตงโม ตำบลกระจาย อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อบ.วิจัย ครั้งที่ 12 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต (Research and Innivation for Quality of Life Improvement) ระหว่างวันที่ 12-13 กรกฏาคม 2561 ณ อาคารเทพรัตนสิริปภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี -ภัทรทิรา วิชัยคำจร สง่า ทับทิมหิน ลักษณีย์ บุญขาว และ กิตติ เหลาสุภาพ. ความรู้และพฤติกรรมความปลอดภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนแห่งหนึ่ง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด. งานประชุมวิชาการวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ครั้งที่ 8; การสาธารณสุขไทยในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง. วันที่ 26 มิถุนายน 2562 จังหวัดอุบลราชธานี. -สง่า ทับทิมหิน, สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์, บัณฑิตถิ่นคำรพ และ วรสิทธิ์ ศรศรีชัย. ช่วงเวลาวิกฤติของการให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินต่อผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนในช่วง 7 วันอันตรายของวันหยุดปีใหม่ ประเทศไทย. งานสัมมนาระดับชาติ เรื่อง ความปลอดภัยทางถนน ครั้งที่ 12 “ครึ่งทางทศวรรษกับการจัดการที่เข้มแข็ง” (12th Thailand Road Safety Seminar “Next Steps: The second half of Decade of Action for Road Safety 2015-2020”). ระหว่างวันที่ 14-15 ธันวาคม 2558 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพฯ -สง่า ทับทิมหิน, สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์ และ สุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์. รูปแบบและแนวโน้มการให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินต่อผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ ประเทศไทย. การประชุมวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินระดับชาติ ประจำปี 2559 “เคลื่อนวงล้อคุณภาพการแพทย์ฉุกเฉินไทย”. ระหว่างวันที่ 30 มีนาคม – 1 เมษายน 2559 ณ อาคารอิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี นนทบุรี -Sanga Tubtimhin, Somsak Pitaksanurat and Supunnee Ungpansattawong. Situation and Trend of Emergency Medical Service for Road Traffic Accident Cases During Songkran Festival Holidays, Thailand. Mae Fah Luang University International Conference 2016 and Kaleidoscope of Traditional and Complementary Medicine International Conference 2016. Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand. 23-25 November 2016.
ผลงานด้านอื่นๆ::
  • โครงการบริการวิชาการแก่สังคม เรื่อง เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็ก (ปี 2552)
  • โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เรื่อง ศึกษางานหัตถกรรมพื้นบ้านการผลิตฆ้องกับภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพของคนงาน (ปี 2552)
  • โครงการบริการวิชาการแก่สังคม เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ อบต.หัวเรือ จ.อุบลฯ (ปี 2553)
  • โครงการบริการวิชาการแก่สังคม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการสืบค้น การจัดการข้อมูลและการจัดทำรายการอ้างอิงในงานวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ปี 2562)